|
|
|
|
|
   |
|
|
  |
ประวัติศาสตร์ความเป็นมาของชุมชน ตำบลท่าฉนวน อำเภอกงไกรลาศ จังหวัดสุโขทัย ก่อตั้งมาได้ประมาณ 103 ปี
(คาดว่าก่อตั้งหมู่บ้านหลังจากแยกอำเภอกงไกรลาศได้ประมาณ 5 ปี)
โดยชาวบ้านส่วนใหญ่เป็นคนท้องถิ่นดั้งเดิม
ส่วนที่เหลืออีกร้อยละ 40 อพยพมาจากจังหวัดสุพรรณบุรี เพชรบุรี ซึ่งมีเชื้อสายมาจากลาวซ้ง(ไทยทรงดำ)
ประชากรตำบลท่าฉนวนมีทั้งสิ้นจำนวน
12 หมู่บ้าน เป็นตำบลที่มีแม่น้ำยมไหลผ่านและเป็นที่ราบลุ่มมีลำคลอง
และหนองน้ำอยู่มาก ในฤดูฝนจะมีน้ำท่วมหลากและจะถูกตัดขาดการติดต่อจากหมู่บ้านอื่นต้องใช้เรือสัญจรไปมา คำว่า “ท่าฉนวน” มาจากคำว่า “ท่าน้ำขึ้นลงเรือ” รวมกับคำว่า “ชนวน” ซึ่งเป็นต้นไม้ใหญ่ที่ขึ้นอยู่
ตามริมตลิ่งมากมาย ชาวบ้านจึงเรียกชื่อหมู่บ้านว่า “บ้านท่าฉนวน” ต่อมาจึงได้ขยาย
หมู่บ้านแยกเป็นตำบลท่าฉนวนในปัจจุบัน |
|
|
|
|
ประชากรทั้งสิ้น 2,657 ครัวเรือน จำนวน 9,835 คนประกอบด้วย |
|
  |
ชาย จำนวน 4,865 คน |
คิดเป็นร้อยละ 49.47 |
|
  |
หญิง จำนวน 4,970 คน |
คิดเป็นร้อยละ 50.53 |
|
ความหนาแน่นเฉลี่ย 111 คน/ตารางกิโลเมตร |
|
|
สภาพภูมิอากาศของเขตพื้นที่ตำบลท่าฉนวนมีลักษณะอากาศคล้ายกับพื้นที่ภาคเหนือตอนล่างและ
ภาคกลางตอนบน
บางช่วงอาจจะมีสภาพอากาศแปรปรวนไม่ตรงตามฤดูการณ์ประกอบกับเป็นพื้นที่ราบลุ่ม
ไม่สามารถกักเก็บน้ำไว้ได้นานอาจแบ่งแยก
สภาพลักษณะภูมิอากาศได้ 3 ฤดู คือ |
|
|
|
ฤดูฝน |
เริ่มประมาณเดือนพฤษภาคม ถึง เดือนตุลาคม |
|
ฤดูหนาว |
เริ่มประมาณเดือนพฤศจิกายน ถึง เดือนกุมภาพันธ์ |
|
ฤดูร้อน |
เริ่มประมาณเดือนกุมภาพันธ์ ถึง เดือนเมษายน |
|
|
|
|
|
|
สภาพโดยทั่วไปเป็นพื้นที่ราบลุ่ม มีแม่น้ำไหลผ่านและมีลำคลองสาย
เล็ก ๆ หลายสายในฤดูฝนจะประสบปัญหาอุทกภัยและ
ในฤดูแล้งจะ
ประสบปัญหาการขาดแคลนน้ำใช้ในการเกษตร สภาพของดินเป็นดินร่วน
ปนดินทรายและดินเหนียวซึ่งเหมาะแก่การทำเกษตรกรรม |
|
องค์การบริหารส่วนตำบลท่าฉนวน ตั้งอยู่ห่างจากอำเภอกงไกรลาศ ประมาณ 20 กิโลเมตร และระยะทาง
อยู่ห่างจากจังหวัดสุโขทัย
ประมาณ 20 กิโลเมตร มีพื้นที่รับผิดชอบทั้งหมด 88.5 ตารางกิโลเมตร ประมาณ
55,312 ไร่ |
|
|
|
 |
 |
ทิศเหนือ |
ติดต่อกับ |
ต.ปากพระ อ.เมือง จ.สุโขทัย |
 |
|
ทิศใต้ |
ติดต่อกับ |
ต.นิคมพัฒนา อ.บางระกำ จ.พิษณุโลก |
|
 |
ทิศตะวันออก |
ติดต่อกับ |
ต.หนองตูม อ.กงไกรลาศ จ.สุโขทัย |
 |
|
ทิศตะวันตก |
ติดต่อกับ |
ต.โตนด อ.คีรีมาศ จ.สุโขทัย |
|
|
|
 |
ประชากรในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลท่าฉนวน ส่วนมาก
ประกอบอาชีพเกษตรกรรม เช่น ทำนา ทำไร่และทำสวน
เป็นอาชีพหลัก
ส่วนอาชีพเสริม ได้แก่ การประกอบอุตสาหกรรมในครัวเรือน เช่น การทำ
ปลาร้า การทำน้ำปลา การทำกล้วย
อบเนยและงานฝีมือต่างๆ เป็นต้น |
|
|
|
|
  |
องค์การบริหารส่วนตำบลท่าฉนวน ได้แบ่งการปกครองออกเป็น 12 หมู่บ้าน ได้แก่ |
|
|
 |
หมู่ที่ |
หมู่บ้าน |
จำนวนประชากร |
ชาย |
หญิง |
รวม |
|
จำนวน
ครัวเรือน |
 |
|
1 |
|
บ้านท่าฉนวน |
446 |
454 |
900 |
253 |
|
 |
2 |
|
บ้านหนองบัว |
982 |
922 |
1,904 |
513 |
 |
|
3 |
|
บ้านหางตลาด |
610 |
642 |
1,252 |
314 |
|
 |
4 |
|
บ้านข่อมตาล |
283 |
262 |
545 |
147 |
 |
|
5 |
|
บ้านน้ำเรื่อง |
505 |
516 |
1,021 |
320 |
|
 |
6 |
|
บ้านวังอ้ายขวาก |
301 |
284 |
585 |
174 |
 |
|
7 |
|
บ้านหนองแม่ลอน |
131 |
152 |
283 |
81 |
|
 |
8 |
|
บ้านเหนือ |
359 |
380 |
739 |
186 |
 |
|
9 |
|
บ้านคลองยาง |
336 |
361 |
697 |
193 |
|
 |
10 |
|
บ้านฟากหนอง |
215 |
238 |
453 |
105 |
 |
|
11 |
|
บ้านหล่ายปอแดง |
400 |
437 |
837 |
209 |
|
 |
12 |
|
บ้านน้ำเรื่องเหนือ |
297 |
322 |
619 |
162 |
 |
|
|
รวม |
4,865 |
4,970 |
9,835 |
2,657 |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
   |
|
|
|
|
|
|